วันพุธที่ 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2554

ประโยชน์และคุณค่าของชาอู่หลง

        ประโยชน์และคุนค่าของชาอู่หลง
   1. ชาเป็นเครื่องดื่มที่มีกลิ่นหอม ช่วยกระตุ้นให้เกิดความสดชื่นยามบ่าย ชามาสมารถช่วยกระตุ้น     ระบบประสาททำให้ สมองแจ่มใส และร่างการทำงาน ได้อย่าง มีประสิทธิภาพ 
  2. ชาช่วยแก้กระหายและช่วยย่อยอาหาร ในช่วงอากาศร้อน การดื่มชาทำให้รู่สึกสดชื่นขึ้น 
  3. ชามีสารฟลูโอไรต์จากธรรมชาติ ช่วยให้ฟันแข็งแรงมากขึ้น ช่วยลดกลิ่นปาก และการหมักหมม ของเชื้อแบคทีเรียในช่องปาก 
  4. ชามีสรรพคุณเป็นสารต่อต้านแบคทีเรีย และการยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื่อแบคทีเรีย และ ยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อโรคบางชนิดช่วยลดการอักเสบช่วยสมานแผล และต่อต้านโรค บิด โรคอหิวาต์ ปอดบวม ฝี และหนอง 
  5. ชาช่วยชำระสารพิษในร่างกาย 
  6. ชาช่วยในการขับปัสสาวะ และขยายหลอดลม ลดอาการหอบหืด 
  7. ชาช่วยระงับและรักษาอาการท้องเสียได้อย่างดี เนื่องจากชามีสารฝาด ที่ละลายออกจากใบชา แก้ท้องเสียได้ 
  8. ชาช่วยส่งเสริมสุขภาพหัวใจให้แข็งแรง ชามีสรรคุณที่ทำปฏิกริยาลดไขมันและน้ำมัน 
  9. สาร Glycosides ในใบชา ช่วยป้องกันการเพิ่มระดับของน้ำตาลในเลือด นั่นคือ ชาสามรถ ป้องกันโรคเบาหวานได้นั่นเอง 
  10. ชามีสารที่มีฤทธิ์จำกัดปฎิกริยาของเชื้อไวรัส รวมไปถึงไข้หวัดใหญ่ เชื้องูสวัด โปลิโอ หรือ แม้แต่ปฏิกริยาบางส่วนของเชื้อ HIV โดยการแทรก แซงและป้องกันไม่ให้เชื่อ HIV เข้าไปเกาะ ติดกับเซลล์เนื้อเยื่อที่มีสุขภาพดี 
  11. ชาช่วยกระตุ้นการทำงานของระบบภูมิคุ้มกันกระตุ้นการทำงานของร่างกายในการต่อต้านเชื้อแบคทีเรียแปลกปลอม 
  12.ชาช่วยชะลอความแก่ ดยการกำจัดสภาวะเสียหายที่เกิดจากอนุมูลอิสระให้แก่เซลล์เนื้อเยื่อ 
  13. เป็นยาบำรุงโดยไม่มีผลรบกวนการทำงานของระบบประสาท หรือทำให้นอนไม่หลับ 
  14. ช่วยรักษาสมดุลของของเหลวภายในร่างกาย

ประโยชน์และคุณค่าของชา

        ประโยชน์และคุนค่าของชา
   1. มีธาตุอาหารหลายชนิดเป็นองค์ประกอบ เช่น วิตามินซี โปรตีน น้ำตาล บำรุงร่างกาย ทำให้มีสุขภาพดี
   2. มีคาเฟอีนเป็นองค์ประกอบ
ช่วยกระตุ้นให้ระบบประสาทให้ทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ช่วยกระตุ้นระบบไหลเวียน ของโลหิต
ช่วยขยายหลอดเลือด ช่วยป้องกันโรคหัวใจตีบตัน ช่วยรักษาอาการกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด
ช่วยรักษาอาการเจ็บหน้าอก ช่วยให้กล้ามเนื้อผ่อนคลาย ช่วยรักษาโรคหวัด
ช่วยรักษาโรคปวดหัว มีสิทธิพลต่อระบบเมตาโบลิซึ่มของเซลล์ร่างกาย
   3. มีสารโพลีฟีนอลช่วยฆ่าเชื้อแบคทีเรียสาเหตุของโรคไทฟอยด์ อหิวาตกโรค
   4. มีสารไดเมธิลแซนธีน ช่วยระบบขับถ่ายให้ดีขึ้น
   5. ช่วยแก้กระหาย ดื่มแล้วชุ่มคอ ชื่นใจ และช่วยย่อยอาหาร แก้ร้อนใน และลดไขมัน
   6. ช่วยลดอาการอักเสบ สมานแผล
   7. ช่วยชะล้างสารพิษออกจากร่างกาย
   8. ใช้เป็นส่วนประกอบของยา
   9. ช่วยให้ระบบขับถ่ายดีขึ้น
   10. ชาผงใช้ในการแต่งกลิ่นในอาหาร
   11. ใช้ระงับกลิ่น เช่น กากใบชาที่เหลือจากการชงชาแล้ว ผึ่งไว้แห้งบรรจุภาชนะต่างๆ เช่น ถุงผ้าฯลฯ สามารถดับกลิ่นในตู้เสื้อผ้า ดับกลิ่นในตู้เย็น ดับกลิ่นในตู้ไมโครเวฟ ดับกลิ่นในตู้ที่อับ ชื้น ดับ กลิ่นใน ตู้ที่อับชื้น ดับกลิ่นในรถยนต์ ดับกลิ่นในห้องน้ำ ดับกลิ่นในห้องครัว ฯลฯ
   12. ขยายหลอดลม
   13. ป้องกันมะเร็ง ปอด ผิดหนัง กระเพาะอาหาร ตับ ลำไส้เล็ก
   14. ลดโคเสลเตอรอลในเลือด
   15. ลดน้ำตาลในเลือด
   16. ลดอัตราการแบ่งตัวของไวรัส
   17. หมอนที่มีกากใบชาแทนนุ่นช่วยคลายเครียดทำให้นอนหลับสบาย

วิธีการชงชา

วิธีการชงชา


กง ฟู ฉา แปลว่า ชงชาด้วยฝีมือ(ที่มีความชำนาญเริ่มต้นที่เมื่อน้ำเดือดแล้ว ลวกปั้นชาที่เตรียมไว้ รวมทั้งถ้วยชา การลวกนี้ถือเป็นการเตรียมปั้นชา (เพื่อเวลา ที่ใช้ชงชาจริงๆ อุณหภูมิของน้ำจะไม่ลดลงมากเท่ากับการเทลงในภาชนะที่เย็นๆตักใบชาลงในปั้นที่อุ่นไว้ใช้น้ำเดือดเทตามลงไปจนน้ำล้นออกมาจากปั้นชา ปิดฝาปั้น เทน้ำลงบนฝาด้วยเพื่อป้องกันกลิ่นหอมไม่ให้หนีออกจากปั้น แล้วเทน้ำที่ได้จากการชงครั้งแรกลงในถ้วยชาทุกใบแล้วเททิ้ง ขั้นตอนนี้คือการ "ปลุกใบ ชาให้ตื่นจากหลับ และล้างใบชาด้วย จากนั้นรินน้ำเดือดลงไปในปั้นอีกครั้ง ปิดฝาปั้น เทน้ำลงลนฝา แล้วจีงรินชาใส่ถ้วยทุกใบด้วยวิธีการรินวน คือรินถ้วยที่หนึ่ง ถึงสี่โดยไม่ต้องรอถ้วยแรกเต็ม รินวนไปมาจนเต็มทั้งสี่ถ้วย อย่างนี้แล้วชาถ้วยที่หนึ่งถึงสี่จะมีรสชาติเสมอกัน
  1.ใส่ใบชาประมาณ 1/6 - 1/4 ของปริมาตรกา
  2. รินน้ำเดือดลงในกาชาครึ่งหนึ่ง แล้วเททิ้งทันที (ไม่ควรเกิน 5  วินาทีเพื่อล้างและอุ่นใบชา ให้ตื่นตัว
  3. รินน้ำเดือดลงในกาชาจนเต็ม ปิดฝากา ทิ้งไว้ประมาณ 45 -60 วินาที
  4.รินน้ำชาลงในแก้วดื่ม (ในการรินแต่ละครั้ง ต้องรินให้หมดกา มิฉะนั้นจะทำให้ใบชาที่เหลือ มีรสขม และฝาด ทำให้เสียรสชาติได้ ใบชาในการชง กา สามรถ ชงได้ 4 - 6 ครั้ง หรือ จนกว่ากลิ่นหอมจะจางหายไป และในการชงแต่ละครั้ง ให้เพิ่มเวลาในการชง 10 - 15 วินาที

ประวัติการปลูกชาในประเทศไทย

ประวัติการปลูกชาในประเทศไทย


 ในสมัยสุโขทัยช่วงมีการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรม กับจีน พบว่าได้มีการดื่มชา แต่ก็ไม่มีปรากฏหลักฐานว่าได้นำเข้ามาอย่างไร และเมื่อใด แต่จากจดหมายของท่าน ลาลูแบร์ ในสมัยพระนารายณ์มหาราช ได้กล่าวไว้ว่า คนไทยได้รู้จักการดิ่มชาแล้ว โดยนิยมชงชาเพื่อรับแขก การดื่มชาของคนไทยในสมัยนั้น ดื่มแบบชาจีนใส้น้ำตาล สำหรับการปลูกขาในประทศไทย แหล่งกำเนิดเดิมจะอยู่ทางภาคเหนือ ที่สำคัญได้แก่ เชียงราย เชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน แพร่ น่าน ลำปาง และตาก จากการสำรวจของ คณะทำงานโครงการหลวงวิจัยชา พบว่า แหล่งชาป่าที่บ้านไม้ฮุง กิ่งอำเภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน บริเใณติดต่อชายแดนพม่า ต้นชาที่พบเป็นชาอัสสัม (Assam Tea) อายุหลายร้อยปี ชาวบ้านละแวกนั้นเรียกว่า ชาพันปี เข้าใจ ว่าต้นชาขนาด ใหญ่สามารถพบได้อีกตามบริเวณเทือกเขาสูงของจังหวัดแพร่และน่าน โดยสวนชา ส่วนใหญ่ทางภาคเหนื่อ จะเป็นสวนเก่าที่ได้จากการถางต้นไม่ชนิดอื่นออก เหลือไว้แต่ต้นชา ที่ชาวบ้านิยมเรียกกันว่า ต้นเมี่ยง จำนวน ต้น/ไร่ ต่ำ ประมาณ 50 - 200 ต้น/ไร่ ผลผลิตใบชาสดได้เพียง 100 - 140 กิโลกรัม ชาวบ้านจะเก็บใบชาป่าด้วยมือ โดยการรูดใบทั้งกิ่ง แล้วนำมาผลิตเป็นเมี่ยง ปัจจุบันในช่วงที่ราคาเมี่ยงสูง ชาว บ้านจะนำมาผลิตเป็นเมี่ยง แต่เมื่อใบเมี่ยงราคาถูก ใบชาป่าจะถูกนำส่งให้กับโรงงานขนาดเล็ก ทำให้ชาจีนที่ได้มีคุณภาพต่ำ การพัฒนาอุตาสาหกรรมชาของประเทศไทย เริ่มขึ้นอย่างจริงจัง เมื่อปี พ.. 2480 โดยนายประสิทธิ์ และนายประธาน พุ่มชูศรี สองพี่น้องได้ตั้ง บริษัท ใบชาตราภูเขา จำกัด และสร้างโรงงานชาขนาดเล็ก ขึ้นที่อำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ โดยรับซื้อใบชาสดจากชาวบ้านที่ทำเมี่ยงอยู่แล้ว แต่ปรากฏว่าพบปัญหา อุปสรรคหลายอย่าง เช่น ใบชาสดมีคุณภาพต่ำ ปริมาณไม่เพียงพอ ชาวบ้านขาดความรู้ความชำนาญในการเก็บเกี่ยวยอดชา และการตัดแต่งกิ่งใบชา ส่วนที่อำเภอฝาง นั้น นายพร เกี่ยวการค้า ได้นำผู้เชี่ยวชาญทางด้านชา ชาวฮกเกี้ยนมาจากประเทศจีน เพื่อมาถ่ายทอดความรู้ให้กับคนไทย ต่อมาในปี พ.. 2482 สองพี่น้องตระกูล พุ่มชูศรี ได้แก้ปัญหาการขาดแคลนวัตถุดิบ โดยการเริ่มปลูกชวนชาเป็นของตัวเอง ใช้เมล็ดชาพื้นบ้านมาเพาะ สวนชาตั้งอยู่ที่แก่งพันเท้า อ.เชียงดาว จ.เชียงใหม่ เนื้อที่ประมาณ 100 ไร่ ต่อมาขยายพื้นที่ปลูกมาที่ป้ายกืดและบ้านช้าง ต.สันมหาพน อ.แม่แตง จ.เชียงใหม่ ในปี พ.. 2508 ได้มีการส่งเสริมการผลิตมากขึ้น โดยขอ สัมปทานทำสวนชา จากกรมป่าไม้ จำนวน 2,000 ไร่ ที่บ้านยางห้วยตาก อ.แม่แตง จ.เชียงใหม่ ในนามของ บริษัท ชาระมื้งค์ และทำสวนชา ที่ ต.สันมหาพน อ.แม่แตง จ.เชียงใหม่ ในนามของ บริษัทชาบุญประทาน จำกัด ชาที่ผลิตส่วนใหญ่เป็นชาฝรั่ง ต่อมาเอกชนเริ่มสนใจการผลิดมากขึ้น โดยในปี 2543บริษัท ชาระมิงค์ ได้ขาย สัมปทานสวนชา ให้เแก่บริษัทสยาม จากนั้นชาสยามได้ส่งเสริมให้เกษตรกรที่ปลูกไร่ในบริเวณใกล้เคียง ปลูกสวนชาแบบใหม่ และรับซื้อใบชาสด จากเกษตรกรที่ผลิต เป็นชาฝรั่ง ในนาม ชาลิปตัน มาจนถึงปัจจุบัน สำหรับภาครัฐนั้น การส่งเสริมและการพัฒนาอุตสาหกรรม เริ่มต้นขึ้นในปี พ.. 2483 โดยปลัดกระทรวงเกษตร .เพช สนิทวงศ์อธิบดีกรมเกษตร (พระคุณช่วง เกษตรศิลปกร)และหัวหน้ากองพืชสวน(..ลักษณากร เกษมสันต์ได้เดินทางสำรวจแหล่งที่พอจะทำการเพาะปลูฏและปรับปรุงชา ที่ อ.แม่ฝาง จ.เชียงใหม่ ในที่สุด ได้เลือกบริเวณ โป่งน้ำร้อน เป็นที่ทดลองปลูกชา โดยตั้งเป็น สถานีทดลองพืชสวนฝาง มีนายพ่วง สุวรรณธาดา เป็นหัวหน้าสถานี ระยะแรกเมล็ดพันธุ์ที่นำมาปลูก ได้ ทำการเก็บมาจาก ท้องที่ตำบลม่อนบินและดอยขุนสวย ที่มีต้นชาขึ้นอยู่ ต่อมามีการนำชาพันธุ์ดีมาจากประเทศ อินเดีย ใต้หวัน และญี่ปุ่น มาทำการทดลองปลูกเพื่อทำการวิจัยแลเค้นคว้าต่อไป ในส่วนของกรมเกษตรที่สูง หลายแห่ง เช่น เกษตรที่สูงวาวี จ.เชียงราย และสถานีทดลองเกษตรที่สูงแม่จอน จ.เชียงใหม่ ในปี พ.. 2518 ฝ่ายรักษาความมั่นคงแห่งชาติ ได้เริ่มโครงการปลูกชา ในพื่นที่หมู่บ้านอพยพ หมู่บ้าน คือ บ้านหนองอู แกน้อย แม่แอบ ถ้ำงอน ถ้ำเปรียบหลวง และแม่สลอง โครงการ นี้ได้รับการสนับสนุนจากรัฐบาลไต้หวัน จัดส่งเมล็ดพันธุ์ชาลูกผสม มาให้ทำการทดลองปลูกพร้อมทั้งส่งผู้เชี่ยวชาญ มาถ่ายทอดเทคนิคการปลูกและการผลิตให้ด้วย ต่อมาอีก ปี มีการสร้างแปลงสาธิตการปลกชา ที่บ้าน แม่สลอง หนองอุ และแกน้อย ในปี 2525 จึงมีการจัดตั้งสหกรณ์ใยชาแม่สลอง อ.แมจัน จ.เชียงราย ทำให้ สมาชิกที่ปลูกใบชาได้รับความช่วยเหลือ และการแนะนำด้านต่างๆ
ในปี พ.. 2525 กองบริการอุตสาหกรรมภาคเหนือ กรวส่งเสริมอุตสาหกรรม ร่วมกับศูนยเพิ่มผูล์ผลผลิตแห่งเอเชียได้จัดทุนดูงานด้านอุตสาหกรรมชา และผู้ ประ กอบการ ใบ ชาจำนวน 12 คน ณ.ประเทศไต้หวัน และศรีลังกา เป็นเวลา สัปดาห์ ต่อมาเดื่อนตุลาคม 2526 ศูนย์เพิ่มพูลผลผลิตแห่งเอเชีย ได้จัดส่งผู้เชี่ยวชาญด้าน ชาจีนมาจากประเทศไต้หวัน คน คือ นายซูหยิง เลียน และนายจางเหลียนฟู มาให้คำแนะนำทางด้นการทำสวนชาและเทคนิคการผลิตชาจีน เป็นเวลา สัปดาห์ ในเดือนมิถุนายน2527 ศูนย์เพิ่มพูลผลผลิตแห่งเอเชีย ได้จัดส่งผู้เชี่ยวชาญสวนชาฝรั่ง มาจากประเทศศีรีลังกา คือ นายเจซี รามานา เคน มาให้คำแนะนำและสาธิต การผลิตชา เป็นเวลา สัปดาห์ ต่อมาในปี 2530 กรมวิชาการเกษตรได้ขอผู้เชี่ยวชาญจาก F.A.O. มาสำรววจศึกษาความเป็นไปได้ในการผลิตอุตสาหกรรมชา ซึ่ง ทางF.A.o. ได้ส่ง Dr.A.k.Arich ผู้เชี่ยวชาญจากฝรั่ง เข้ามาศึกษาเป็นเวลา เดือน และส่งนักวิชาการของกรมการเกษตรไปดูงานด้านการปลูก และการผลิตชาฝรั่ง ที่ประเทศอินเดีย การวิจัยในส่วนทีเกี่ยวข้องกับการปลูกและผลิตชา นอกจากกรมวิชาการเกษตร รับผิดชอบโดยตรงแล้ว ในส่วนของทบวงมหาวิทยาลัย ในปี 2520 งานเกษตรที่สูง ม.เกษตรศาตร์โดยอาจารย์ปวิณ ปณศรี ได้ขอผู่เชี่ยวชาญจากสถานีทดลองชาไต้หวัน เข้ามาศึกษาความเป็นไปได้ ในการพัฒนาอุตสาหกรรมชาใน ประเทศไทย เป็นเวลา เดือน ในคณะเดียวกัน ทาง ม.เชียงใหม่ ก็ได้เริ่มงานสรีรวิทยาของชา ต่อมาในปี 2530 สาขาไม้ผลของสถาบันเทคโนโลยีการเกษตรแม่โจ้ ได้รับงบสนับสนุนจากงบประมาณวิจัยโครงการหลวง ได้เริ่มวิจัยและพัฒนาชาขึ้น วัตถุประสงค์หลักเพื่อทำการคัดเลือก ปรับปรุงพันธ์ชาจีน ศึกษาวิธีขยายพันธุ์ ผลิต ต้นกล้าชาพันธุ์ดีและปรับปรุงกระบวนการผลิตชาให้กับศูนย์พัฒนา โครงการหลวงต่างๆ ซึ่งอีก ปีต่อมา ได้มีการอนุมัติจัดตั้งสถานีวิจัยชาขึ้น ที่บ้านห้วยน้ำขุ่น อ.แม่สรวยจ.เชียงราย ปัจจุบันทางสถานีได้ทำการผลิตชาจีนพันธุ์ห้วยน้ำขุ่น เบอร์ 3 (HK.NO3) ที่คัดเลือกจากแม่พันธุ์ชาจีนลูกผสม ของไต้หวัน เพื่อทำการแจกจ่าย ให้กับเกษตรกรในโครงการ และหน่วยงานทีสนใจ
ในส่วนของกรมส่งเสริมการเกษตรได้ทำ การส่งเสริมเกษตรกรปลูกชามาตั้งแต่ 2533 โดยจัดทำแปลงขยายพันธุ์ชาพันธุ์ดีที่ศูนย์ส่งเสริมการผลิต พันธุ์พืชสวน เชียงราย จัดทำแปลงส่งเสริมการปลูกชาพันธุ์ดีเป็นสวนแก่เกษตรกร และส่งเสริมการปรับปรุงสวนชาวเขา โดยส่งเสริมให้เกษตรกร ตัดแต่งกิ่ง ใส่ปุ๋ย ดูแลรักษา และ ปลูกชาเสริมในสวนแปลงชาเก่า พร้อมทั้งฝึกอบรมให้ความรู้เรื่องการปลูกและผลิตชา แก่เกษตรกรผู้สนใจ จัดตั้งกลุ่มผ๔้ปลูกชา และประสานงานการตลาดระหว่าง เกษตรกรและพ่อค้าผู้รับซื้อด้วย

ประวัติชาอู่หลง

ประวัติชาอู่หลง
 
 
ชามีต้นกำเนิดมาจากประเทศจีน ถ้านับย้อนหลังไปก็รวมระยะเวลา ได้กว่า 4,000 ปี กล่าวคือ เมื่อ2737 ปี ก่อนคริสต์ศักราช ชาได้ถูกพบโดยจรรดิพรรดิ นามว่า เสินหนง ซึ่งเป็นบัณฑิต และนักสมุนไพร เป็นคนรักความสะอาดมาก ดื่มเฉพาะน้ำต้มสุกเท่านั้น วันหนึ่งขณะที่เสินหนง กำลังพักผ่อนอยู่ที่ใต้ต้นชา และกำลังต้มน้ำดื่มอยู่นั้น ปรากฏว่าได้มีลมโบกกิ่งไม้เป็นเหตุให้ใบชาร่วงหล่นลงในน้ำซึ่งใกล้เดือดพอดี เมื่อเขาลองดื่ม ก็เกิดความรู้สึกกระปรี่กระเปร่าขึ้น พอมาในช่วงศตวรรษที่ ชาวบ้านได้รู้ถึงสรรพคุณด้านเป็นยา ในสมัยนั้น จะดื่มชาเป็นยา เป็นเครื่อง บำรุงกำลัง พอชาได้รับความนิยมมากขึ้น ชาวบ้านก็เริ่มหันมาปลูกชาและพัฒนาขั้นตอนการผลิตมาเรื่อยๆ ในช่วงศตวรรษที่ และ ความนิยมใบชาในประเทศจีนเพิ่ม ขึ้นอย่างรวดเร็ว มีการปลูกชาตามแนวเทือกเขา บริเวณหุบเขาปม่น้ำแยงซีเกียง ชาจะผลิตในรูปของการอัดแผ่น คือ การนำใบชามานึ่งก่อน และะจากนั้นก็นำมากระ แทก จากนั้นนำไปผสมกับลูกพลัม ลักษณะที่ได้จะข้นๆเหนียวๆ จากนั้นนำไปเทลงบนแม่พิมพ์ และนำไปอบให้แห้ง ได้ชาออกมาเป็นแผ่น เมื่อนำมาเตรียมเป็นน้ำชา จะนำไปผิงไฟให้มันอ่อนตัว จนสามารถที่จะบดเป็นผงได้ จากนั้นก็นำไปผสมน้ำต้ม สมัยนั้น เริ่มมีการนำชาไปถวายเป็นของขวัญแด่ จักรพรรดิจีนสมัยราชววศ์ถัง ถือเป็นยุดทองของชา(..618 - .. 906) ชาไม่ได้ดื่มเพื่อเป็นยาบำรุงกำลังเพียงอย่างเดียว แต่มีการดื่มเป็นประจำทุกวัน เป็นเครื่องดื่มเพื่อ สุขภาพ ในสมัยนี้ขายังเป็นรูปแบบของการอัดเป็นแผ่นอยู่ แต่ในขั้นตอนการเตรียมชา ได้มีการเติมเกลือลงไป เพื่อให้ชามีรสชาติเข้มข้นขึ้น และมีการเต่งรสอื่นๆซึ่งส่วน ใหญ่จะเป็นเครื่องเทศ เช่น หัวหอมหวาน ขิง เปลือกส้ม กานพลู และสารแหน่ สมัยราชวงศ์ซ้อง(.. 960 - ..1279) ชาได้เติมเครื่องเทศแบบในสมัยถัง แต่จะเพิ่ม รสบางๆ เช่น น้ำมันจากดอกมะลิ ดอกบัว และดอกเบญจมาศ มาถึงราชวงศ์หมิง(..1368 - 1644) ชาที่ปลูกในจีนทั้งหมดเป็นชาเขียว สมัยนั้นกระบวนการผลิตชาได้พัฒนาขึ้นไปอีก ไม่อัดเป็นแผ่น แต่มีการรวมรวบใบชา นำมานึ่งและอบแห้ง ซึ่งจะเก็บได้ไม่ดีนัก สูญเสียกลิ่นง่าย และรสชาติไม่ดี ในช่วงศตวรรษที่ 17 มีการค้าขายกับชาวยุโรป แรกเริ่มเป็นชาเขียว เมื่อการค้าพัฒนาขึ้น อย่างต่อเนื่อง ก็มีการพัฒนาการบวนการผลิตเพื่อจะรักษาคุณภาพของใบชาให้นานขึ้น โดนได้คิดค้นกระบวนการที่เรียกว่าการหมัก เมื่อหมักแล้วก็จะนำไปอบ ซึ่งก็เป็น ที่มาของชาอูหลง และชาดำ ในประเทศจีนมีการแต่งกลิ่นด้วย โดยเฉพาะกลิ่นดอกไม้ สมัยนั้นตลาดยุโรปต้องการมาก

วันเสาร์ที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2554

Tea Chaina

ประวัติชาจีน

ประวัติกำเนิดชาจีน เพราะชาเป็นหนึ่งในสิ่งประดิษฐ์สี่อย่างของจีน และวัฒนธรรมการดื่มชายังเป็นวัฒนธรรมอย่างหนึ่งของจีนด้วย ย้อนไปถึงปี 2737ก่อนคริสต์กาล ก็กว่า 4700 ปีมาแล้ว ในรัชสมัยของจักรพรรดิเสิน วันหนึ่งจักรพรรดิเสินเสด็จล่าสัตว์ ขณะทรงพักผ่อนใต้ร่มไม้ และทรงต้มน้ำดื่มหน้ากองไฟ มีกระแสลมพัด พาเอาใบไม้หล่นลงในหม้อน้ำที่กำลังต้ม เมื่อจักรพรรดิทรงชิมน้ำที่ต้ม พบว่ามีรสชาติดีและมีกลิ่นหอมจากใบไม้ชนิดนั้นคือใบชา และจากนั้นมา ชาก็กำเนิดขึ้นเป็นที่รู้จักและนิยมดื่มกันไปทั่วโลกตราบจนถึงปัจจุบัน การหยิบชา การจัดเตรียม และพิธีกรรมการดื่มชากลายเป็นปรากฎการณ์ทางวัฒนธรรมในประเทศจีนจนสืบทอดไป ถึง เกาหลี และญี่ปุ่น ขนบธรรมเนียมประเพณีการดื่มชาของแต่ละประเทศก็แตกต่างกันไป และเมื่อราวศตวรรษที่ 5 ชาเป็นที่ยอมรับว่า สามารถใช้รักษาโรคบางชนิดได้ ใบชานั้นมีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า Camellia sinesis ซึ่งรู้จักกันว่าเป็นดอกชาสีดำ เรื่องราวของชาในการรักษาโรคนั้น จะช่วยระบบย่อยอาหาร และระบบประสาท และด้วยกลิ่นและรสชาติของชา ทำให้มีการปลูกชากันทั่วโลก และเป็นที่นิยมกันอย่างแพร่หลาย ตั้งแต่สมัยราชวงศ์ถัง ก็มีตำราชาจีนออกมาแล้วชื่อ "ฉาจิง" ลู่หยูเป็นผู้แต่ง มีเรื่องเล่าว่า ยุคราชวงศ์ถัง นับว่าเป็นช่วงที่ประเทศจีน พัฒนามากในการผลิตใบชา การดื่มชาเป็นที่แพร่หลาย ชาเข้าไปในวิถีชีวิตครอบครัวของชาวจีนทั่วไป กลายเป็นสิ่งที่จะขาดไม่ได้ในชีวิต ประจำวัน ในช่วงเวลานี้เองในประวัติศาสตร์จีนได้มีการบันทึกถึง หนังสือที่มีชื่อเสียงเกี่ยวกับใบชาชื่อว่า "ฉาจิง" "ฉาจิง"นับเป็นหนังสือเล่มแรกของโลกที่บันทึกเกี่ยวกับการศึกษาการผลิตชาจีน หนังสือเล่มนี้รวบรวมประเภทของชา การผลิตชาการดื่มชา ประสบการณ์การวิจารณ์ชาไว้เป็นระบบ ผู้เขียนชื่อ "ลู่หยู" เป็นปัญญาชนที่ไม่ชอบรับราชการ เขาถูกคนรุ่นหลังยกย่องให้เป็นปราชญ์ทางชากล่าวกันว่า ลู่หยู เป็นเด็กที่ถูกทอดทิ้ง และพระจีน ชื่อ"จื่อจี" เลี้ยงดูจนเติบโตและพระจีนตั้งชื่อให้ ท่านจื่อจีชอบดื่มชา คนที่นิยมดื่มชามักจะชงชาเอง ลู่หยูตั้งแต่เด็กก็เรียนรู้จากพระจีนชราจนมีฝีมือชงชา ยิ่งกว่านั้นยังสะสมประสบการณ์การดื่มชา ภายหลังชาที่ลู่หยูชงจัดว่ามีรสชาติพิเศษ ท่านจื่อจีนั้นหากไม่ใช่ชาที่ลู่หยูชงจะไม่ดื่ม มีอยู่ช่วงหนึ่ง ลู่หยูมีธุระไปข้างนอก ท่านจื่อจีไม่ดื่มชาเลย ภายหลังจักรพรรดิทรงทราบเรื่องนี้ก็ไม่ทรงเชื่อ โปรดให้นำท่านจื่อจีเข้าวังหลวง สั่งให้นักชงชาที่ดีในราชสำนักชงชาให้ท่านดื่ม แต่พอพระจีนชราจิบชาไป 1 อึก ไม่ชอบก็วางลงไม่ดื่มอีกเลย จักรพรรดิ์จึงรับสั่งเป็นการลับให้ลู่หยูเข้าวัง และให้เขาชงชา แล้วเชิญให้ท่านจื่อจีดื่ม พอดื่มชา ท่านก็กล่าวอย่างดีใจว่า "ชานี้เหมือนชาที่ลู่หยูชงเองเลย" จากนั้นเป็นต้นมา ชื่อเสียงของลู่หยูก็เป็นที่รู้จักกันทั่วแผ่นดิน

ประวัติชาอู่หลง
 
 
ชามีต้นกำเนิดมาจากประเทศจีน ถ้านับย้อนหลังไปก็รวมระยะเวลา ได้กว่า 4,000 ปี กล่าวคือ เมื่อ 2737 ปี ก่อนคริสต์ศักราช ชาได้ถูกพบโดยจรรดิพรรดิ นามว่า เสินหนง ซึ่งเป็นบัณฑิต และนักสมุนไพร เป็นคนรักความสะอาดมาก ดื่มเฉพาะน้ำต้มสุกเท่านั้น วันหนึ่งขณะที่เสินหนง กำลังพักผ่อนอยู่ที่ใต้ต้นชา และกำลังต้มน้ำดื่มอยู่นั้น ปรากฏว่าได้มีลมโบกกิ่งไม้เป็นเหตุให้ใบชาร่วงหล่นลงในน้ำซึ่งใกล้เดือดพอดี เมื่อเขาลองดื่ม ก็เกิดความรู้สึกกระปรี่กระเปร่าขึ้น พอมาในช่วงศตวรรษที่ 3 ชาวบ้านได้รู้ถึงสรรพคุณด้านเป็นยา ในสมัยนั้น จะดื่มชาเป็นยา เป็นเครื่อง บำรุงกำลัง พอชาได้รับความนิยมมากขึ้น ชาวบ้านก็เริ่มหันมาปลูกชาและพัฒนาขั้นตอนการผลิตมาเรื่อยๆ ในช่วงศตวรรษที่ 4 และ 5 ความนิยมใบชาในประเทศจีนเพิ่ม ขึ้นอย่างรวดเร็ว มีการปลูกชาตามแนวเทือกเขา บริเวณหุบเขาปม่น้ำแยงซีเกียง ชาจะผลิตในรูปของการอัดแผ่น คือ การนำใบชามานึ่งก่อน และะจากนั้นก็นำมากระ แทก จากนั้นนำไปผสมกับลูกพลัม ลักษณะที่ได้จะข้นๆเหนียวๆ จากนั้นนำไปเทลงบนแม่พิมพ์ และนำไปอบให้แห้ง ได้ชาออกมาเป็นแผ่น เมื่อนำมาเตรียมเป็นน้ำชา จะนำไปผิงไฟให้มันอ่อนตัว จนสามารถที่จะบดเป็นผงได้ จากนั้นก็นำไปผสมน้ำต้ม สมัยนั้น เริ่มมีการนำชาไปถวายเป็นของขวัญแด่ จักรพรรดิจีนสมัยราชววศ์ถัง ถือเป็นยุดทองของชา(..618 - .. 906) ชาไม่ได้ดื่มเพื่อเป็นยาบำรุงกำลังเพียงอย่างเดียว แต่มีการดื่มเป็นประจำทุกวัน เป็นเครื่องดื่มเพื่อ สุขภาพ ในสมัยนี้ขายังเป็นรูปแบบของการอัดเป็นแผ่นอยู่ แต่ในขั้นตอนการเตรียมชา ได้มีการเติมเกลือลงไป เพื่อให้ชามีรสชาติเข้มข้นขึ้น และมีการเต่งรสอื่นๆซึ่งส่วน ใหญ่จะเป็นเครื่องเทศ เช่น หัวหอมหวาน ขิง เปลือกส้ม กานพลู และสารแหน่ สมัยราชวงศ์ซ้อง(.. 960 - ..1279) ชาได้เติมเครื่องเทศแบบในสมัยถัง แต่จะเพิ่ม รสบางๆ เช่น น้ำมันจากดอกมะลิ ดอกบัว และดอกเบญจมาศ มาถึงราชวงศ์หมิง(..1368 - 1644) ชาที่ปลูกในจีนทั้งหมดเป็นชาเขียว สมัยนั้นกระบวนการผลิตชาได้พัฒนาขึ้นไปอีก ไม่อัดเป็นแผ่น แต่มีการรวมรวบใบชา นำมานึ่งและอบแห้ง ซึ่งจะเก็บได้ไม่ดีนัก สูญเสียกลิ่นง่าย และรสชาติไม่ดี ในช่วงศตวรรษที่ 17 มีการค้าขายกับชาวยุโรป แรกเริ่มเป็นชาเขียว เมื่อการค้าพัฒนาขึ้น อย่างต่อเนื่อง ก็มีการพัฒนาการบวนการผลิตเพื่อจะรักษาคุณภาพของใบชาให้นานขึ้น โดนได้คิดค้นกระบวนการที่เรียกว่าการหมัก เมื่อหมักแล้วก็จะนำไปอบ ซึ่งก็เป็น ที่มาของชาอูหลง และชาดำ ในประเทศจีนมีการแต่งกลิ่นด้วย โดยเฉพาะกลิ่นดอกไม้ สมัยนั้นตลาดยุโรปต้องการมาก

ประวัติการปลูกชาในประเทศไทย


 ในสมัยสุโขทัยช่วงมีการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรม กับจีน พบว่าได้มีการดื่มชา แต่ก็ไม่มีปรากฏหลักฐานว่าได้นำเข้ามาอย่างไร และเมื่อใด แต่จากจดหมายของท่าน ลาลูแบร์ ในสมัยพระนารายณ์มหาราช ได้กล่าวไว้ว่า คนไทยได้รู้จักการดิ่มชาแล้ว โดยนิยมชงชาเพื่อรับแขก การดื่มชาของคนไทยในสมัยนั้น ดื่มแบบชาจีนใส้น้ำตาล สำหรับการปลูกขาในประทศไทย แหล่งกำเนิดเดิมจะอยู่ทางภาคเหนือ ที่สำคัญได้แก่ เชียงราย เชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน แพร่ น่าน ลำปาง และตาก จากการสำรวจของ คณะทำงานโครงการหลวงวิจัยชา พบว่า แหล่งชาป่าที่บ้านไม้ฮุง กิ่งอำเภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน บริเใณติดต่อชายแดนพม่า ต้นชาที่พบเป็นชาอัสสัม (Assam Tea) อายุหลายร้อยปี ชาวบ้านละแวกนั้นเรียกว่า ชาพันปี เข้าใจ ว่าต้นชาขนาด ใหญ่สามารถพบได้อีกตามบริเวณเทือกเขาสูงของจังหวัดแพร่และน่าน โดยสวนชา ส่วนใหญ่ทางภาคเหนื่อ จะเป็นสวนเก่าที่ได้จากการถางต้นไม่ชนิดอื่นออก เหลือไว้แต่ต้นชา ที่ชาวบ้านิยมเรียกกันว่า ต้นเมี่ยง จำนวน ต้น/ไร่ ต่ำ ประมาณ 50 - 200 ต้น/ไร่ ผลผลิตใบชาสดได้เพียง 100 - 140 กิโลกรัม ชาวบ้านจะเก็บใบชาป่าด้วยมือ โดยการรูดใบทั้งกิ่ง แล้วนำมาผลิตเป็นเมี่ยง ปัจจุบันในช่วงที่ราคาเมี่ยงสูง ชาว บ้านจะนำมาผลิตเป็นเมี่ยง แต่เมื่อใบเมี่ยงราคาถูก ใบชาป่าจะถูกนำส่งให้กับโรงงานขนาดเล็ก ทำให้ชาจีนที่ได้มีคุณภาพต่ำ การพัฒนาอุตาสาหกรรมชาของประเทศไทย เริ่มขึ้นอย่างจริงจัง เมื่อปี พ.. 2480 โดยนายประสิทธิ์ และนายประธาน พุ่มชูศรี สองพี่น้องได้ตั้ง บริษัท ใบชาตราภูเขา จำกัด และสร้างโรงงานชาขนาดเล็ก ขึ้นที่อำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ โดยรับซื้อใบชาสดจากชาวบ้านที่ทำเมี่ยงอยู่แล้ว แต่ปรากฏว่าพบปัญหา อุปสรรคหลายอย่าง เช่น ใบชาสดมีคุณภาพต่ำ ปริมาณไม่เพียงพอ ชาวบ้านขาดความรู้ความชำนาญในการเก็บเกี่ยวยอดชา และการตัดแต่งกิ่งใบชา ส่วนที่อำเภอฝาง นั้น นายพร เกี่ยวการค้า ได้นำผู้เชี่ยวชาญทางด้านชา ชาวฮกเกี้ยนมาจากประเทศจีน เพื่อมาถ่ายทอดความรู้ให้กับคนไทย ต่อมาในปี พ.. 2482 สองพี่น้องตระกูล พุ่มชูศรี ได้แก้ปัญหาการขาดแคลนวัตถุดิบ โดยการเริ่มปลูกชวนชาเป็นของตัวเอง ใช้เมล็ดชาพื้นบ้านมาเพาะ สวนชาตั้งอยู่ที่แก่งพันเท้า อ.เชียงดาว จ.เชียงใหม่ เนื้อที่ประมาณ 100 ไร่ ต่อมาขยายพื้นที่ปลูกมาที่ป้ายกืดและบ้านช้าง ต.สันมหาพน อ.แม่แตง จ.เชียงใหม่ ในปี พ.. 2508 ได้มีการส่งเสริมการผลิตมากขึ้น โดยขอ สัมปทานทำสวนชา จากกรมป่าไม้ จำนวน 2,000 ไร่ ที่บ้านยางห้วยตาก อ.แม่แตง จ.เชียงใหม่ ในนามของ บริษัท ชาระมื้งค์ และทำสวนชา ที่ ต.สันมหาพน อ.แม่แตง จ.เชียงใหม่ ในนามของ บริษัทชาบุญประทาน จำกัด ชาที่ผลิตส่วนใหญ่เป็นชาฝรั่ง ต่อมาเอกชนเริ่มสนใจการผลิดมากขึ้น โดยในปี 2543 บริษัท ชาระมิงค์ ได้ขาย สัมปทานสวนชา ให้เแก่บริษัทสยาม จากนั้นชาสยามได้ส่งเสริมให้เกษตรกรที่ปลูกไร่ในบริเวณใกล้เคียง ปลูกสวนชาแบบใหม่ และรับซื้อใบชาสด จากเกษตรกรที่ผลิต เป็นชาฝรั่ง ในนาม ชาลิปตัน มาจนถึงปัจจุบัน สำหรับภาครัฐนั้น การส่งเสริมและการพัฒนาอุตสาหกรรม เริ่มต้นขึ้นในปี พ.. 2483 โดยปลัดกระทรวงเกษตร ( .. เพช สนิทวงศ์) อธิบดีกรมเกษตร (พระคุณช่วง เกษตรศิลปกร) และหัวหน้ากองพืชสวน(..ลักษณากร เกษมสันต์) ได้เดินทางสำรวจแหล่งที่พอจะทำการเพาะปลูฏและปรับปรุงชา ที่ อ.แม่ฝาง จ.เชียงใหม่ ในที่สุด ได้เลือกบริเวณ โป่งน้ำร้อน เป็นที่ทดลองปลูกชา โดยตั้งเป็น สถานีทดลองพืชสวนฝาง มีนายพ่วง สุวรรณธาดา เป็นหัวหน้าสถานี ระยะแรกเมล็ดพันธุ์ที่นำมาปลูก ได้ ทำการเก็บมาจาก ท้องที่ตำบลม่อนบินและดอยขุนสวย ที่มีต้นชาขึ้นอยู่ ต่อมามีการนำชาพันธุ์ดีมาจากประเทศ อินเดีย ใต้หวัน และญี่ปุ่น มาทำการทดลองปลูกเพื่อทำการวิจัยแลเค้นคว้าต่อไป ในส่วนของกรมเกษตรที่สูง หลายแห่ง เช่น เกษตรที่สูงวาวี จ.เชียงราย และสถานีทดลองเกษตรที่สูงแม่จอน จ.เชียงใหม่ ในปี พ.. 2518 ฝ่ายรักษาความมั่นคงแห่งชาติ ได้เริ่มโครงการปลูกชา ในพื่นที่หมู่บ้านอพยพ 6 หมู่บ้าน คือ บ้านหนองอู แกน้อย แม่แอบ ถ้ำงอน ถ้ำเปรียบหลวง และแม่สลอง โครงการ นี้ได้รับการสนับสนุนจากรัฐบาลไต้หวัน จัดส่งเมล็ดพันธุ์ชาลูกผสม มาให้ทำการทดลองปลูกพร้อมทั้งส่งผู้เชี่ยวชาญ มาถ่ายทอดเทคนิคการปลูกและการผลิตให้ด้วย ต่อมาอีก 3 ปี มีการสร้างแปลงสาธิตการปลกชา ที่บ้าน แม่สลอง หนองอุ และแกน้อย ในปี 2525 จึงมีการจัดตั้งสหกรณ์ใยชาแม่สลอง อ.แมจัน จ.เชียงราย ทำให้ สมาชิกที่ปลูกใบชาได้รับความช่วยเหลือ และการแนะนำด้านต่างๆ
ในปี พ.. 2525 กองบริการอุตสาหกรรมภาคเหนือ กรวส่งเสริมอุตสาหกรรม ร่วมกับศูนยเพิ่มผูล์ผลผลิตแห่งเอเชียได้จัดทุนดูงานด้านอุตสาหกรรมชา และผู้ ประ กอบการ ใบ ชาจำนวน 12 คน ณ. ประเทศไต้หวัน และศรีลังกา เป็นเวลา 2 สัปดาห์ ต่อมาเดื่อนตุลาคม 2526 ศูนย์เพิ่มพูลผลผลิตแห่งเอเชีย ได้จัดส่งผู้เชี่ยวชาญด้าน ชาจีนมาจากประเทศไต้หวัน 2 คน คือ นายซูหยิง เลียน และนายจางเหลียนฟู มาให้คำแนะนำทางด้นการทำสวนชาและเทคนิคการผลิตชาจีน เป็นเวลา 2 สัปดาห์ ในเดือนมิถุนายน 2527 ศูนย์เพิ่มพูลผลผลิตแห่งเอเชีย ได้จัดส่งผู้เชี่ยวชาญสวนชาฝรั่ง มาจากประเทศศีรีลังกา คือ นายเจซี รามานา เคน มาให้คำแนะนำและสาธิต การผลิตชา เป็นเวลา 3 สัปดาห์ ต่อมาในปี 2530 กรมวิชาการเกษตรได้ขอผู้เชี่ยวชาญจาก F.A.O. มาสำรววจศึกษาความเป็นไปได้ในการผลิตอุตสาหกรรมชา ซึ่ง ทาง F.A.o. ได้ส่ง Dr.A.k.Arich ผู้เชี่ยวชาญจากฝรั่ง เข้ามาศึกษาเป็นเวลา 1 เดือน และส่งนักวิชาการของกรมการเกษตรไปดูงานด้านการปลูก และการผลิตชาฝรั่ง ที่ประเทศอินเดีย การวิจัยในส่วนทีเกี่ยวข้องกับการปลูกและผลิตชา นอกจากกรมวิชาการเกษตร รับผิดชอบโดยตรงแล้ว ในส่วนของทบวงมหาวิทยาลัย ในปี 2520 งานเกษตรที่สูง ม.เกษตรศาตร์โดยอาจารย์ปวิณ ปณศรี ได้ขอผู่เชี่ยวชาญจากสถานีทดลองชาไต้หวัน เข้ามาศึกษาความเป็นไปได้ ในการพัฒนาอุตสาหกรรมชาใน ประเทศไทย เป็นเวลา 3 เดือน ในคณะเดียวกัน ทาง ม.เชียงใหม่ ก็ได้เริ่มงานสรีรวิทยาของชา ต่อมาในปี 2530 สาขาไม้ผลของสถาบันเทคโนโลยีการเกษตรแม่โจ้ ได้รับงบสนับสนุนจากงบประมาณวิจัยโครงการหลวง ได้เริ่มวิจัยและพัฒนาชาขึ้น วัตถุประสงค์หลักเพื่อทำการคัดเลือก ปรับปรุงพันธ์ชาจีน ศึกษาวิธีขยายพันธุ์ ผลิต ต้นกล้าชาพันธุ์ดีและปรับปรุงกระบวนการผลิตชาให้กับศูนย์พัฒนา โครงการหลวงต่างๆ ซึ่งอีก 3 ปีต่อมา ได้มีการอนุมัติจัดตั้งสถานีวิจัยชาขึ้น ที่บ้านห้วยน้ำขุ่น อ.แม่สรวยจ.เชียงราย ปัจจุบันทางสถานีได้ทำการผลิตชาจีนพันธุ์ห้วยน้ำขุ่น เบอร์ 3 (HK.NO3) ที่คัดเลือกจากแม่พันธุ์ชาจีนลูกผสม ของไต้หวัน เพื่อทำการแจกจ่าย ให้กับเกษตรกรในโครงการ และหน่วยงานทีสนใจ
ในส่วนของกรมส่งเสริมการเกษตรได้ทำ การส่งเสริมเกษตรกรปลูกชามาตั้งแต่ 2533 โดยจัดทำแปลงขยายพันธุ์ชาพันธุ์ดีที่ศูนย์ส่งเสริมการผลิต พันธุ์พืชสวน เชียงราย จัดทำแปลงส่งเสริมการปลูกชาพันธุ์ดีเป็นสวนแก่เกษตรกร และส่งเสริมการปรับปรุงสวนชาวเขา โดยส่งเสริมให้เกษตรกร ตัดแต่งกิ่ง ใส่ปุ๋ย ดูแลรักษา และ ปลูกชาเสริมในสวนแปลงชาเก่า พร้อมทั้งฝึกอบรมให้ความรู้เรื่องการปลูกและผลิตชา แก่เกษตรกรผู้สนใจ จัดตั้งกลุ่มผ๔้ปลูกชา และประสานงานการตลาดระหว่าง เกษตรกรและพ่อค้าผู้รับซื้อด้วย

วิธีการชงชา


กง ฟู ฉา แปลว่า ชงชาด้วยฝีมือ(ที่มีความชำนาญ) เริ่มต้นที่เมื่อน้ำเดือดแล้ว ลวกปั้นชาที่เตรียมไว้ รวมทั้งถ้วยชา การลวกนี้ถือเป็นการเตรียมปั้นชา (เพื่อเวลา ที่ใช้ชงชาจริงๆ อุณหภูมิของน้ำจะไม่ลดลงมากเท่ากับการเทลงในภาชนะที่เย็นๆ) ตักใบชาลงในปั้นที่อุ่นไว้ใช้น้ำเดือดเทตามลงไปจนน้ำล้นออกมาจากปั้นชา ปิดฝาปั้น เทน้ำลงบนฝาด้วยเพื่อป้องกันกลิ่นหอมไม่ให้หนีออกจากปั้น แล้วเทน้ำที่ได้จากการชงครั้งแรกลงในถ้วยชาทุกใบแล้วเททิ้ง ขั้นตอนนี้คือการ "ปลุก" ใบ ชาให้ตื่นจากหลับ และล้างใบชาด้วย จากนั้นรินน้ำเดือดลงไปในปั้นอีกครั้ง ปิดฝาปั้น เทน้ำลงลนฝา แล้วจีงรินชาใส่ถ้วยทุกใบด้วยวิธีการรินวน คือรินถ้วยที่หนึ่ง ถึงสี่โดยไม่ต้องรอถ้วยแรกเต็ม รินวนไปมาจนเต็มทั้งสี่ถ้วย อย่างนี้แล้วชาถ้วยที่หนึ่งถึงสี่จะมีรสชาติเสมอกัน
  1.ใส่ใบชาประมาณ 1/6 - 1/4 ของปริมาตรกา
  2. รินน้ำเดือดลงในกาชาครึ่งหนึ่ง แล้วเททิ้งทันที (ไม่ควรเกิน วินาที) เพื่อล้างและอุ่นใบชา ให้ตื่นตัว
  3. รินน้ำเดือดลงในกาชาจนเต็ม ปิดฝากา ทิ้งไว้ประมาณ 45 -60 วินาที
  4.รินน้ำชาลงในแก้วดื่ม (ในการรินแต่ละครั้ง ต้องรินให้หมดกา มิฉะนั้นจะทำให้ใบชาที่เหลือ มีรสขม และฝาด ทำให้เสียรสชาติได้ ใบชาในการชง 1 กา สามรถ ชงได้ 4 - 6 ครั้ง หรือ จนกว่ากลิ่นหอมจะจางหายไป และในการชงแต่ละครั้ง ให้เพิ่มเวลาในการชง 10 - 15 วินาที
        ประโยชน์และคุนค่าของชา
   1. มีธาตุอาหารหลายชนิดเป็นองค์ประกอบ เช่น วิตามินซี โปรตีน น้ำตาล บำรุงร่างกาย ทำให้มี สุขภาพดี
   2. มีคาเฟอีนเป็นองค์ประกอบ
- ช่วยกระตุ้นให้ระบบประสาทให้ทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ช่วยกระตุ้นระบบไหลเวียน ของโลหิต
- ช่วยขยายหลอดเลือด ช่วยป้องกันโรคหัวใจตีบตัน ช่วยรักษาอาการกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด
- ช่วยรักษาอาการเจ็บหน้าอก ช่วยให้กล้ามเนื้อผ่อนคลาย ช่วยรักษาโรคหวัด
- ช่วยรักษาโรคปวดหัว มีสิทธิพลต่อระบบเมตาโบลิซึ่มของเซลล์ร่างกาย
   3. มีสารโพลีฟีนอลช่วยฆ่าเชื้อแบคทีเรียสาเหตุของโรคไทฟอยด์ อหิวาตกโรค
   4. มีสารไดเมธิลแซนธีน ช่วยระบบขับถ่ายให้ดีขึ้น
   5. ช่วยแก้กระหาย ดื่มแล้วชุ่มคอ ชื่นใจ และช่วยย่อยอาหาร แก้ร้อนใน และลดไขมัน
   6. ช่วยลดอาการอักเสบ สมานแผล
   7. ช่วยชะล้างสารพิษออกจากร่างกาย
   8. ใช้เป็นส่วนประกอบของยา
   9. ช่วยให้ระบบขับถ่ายดีขึ้น
   10. ชาผงใช้ในการแต่งกลิ่นในอาหาร
   11. ใช้ระงับกลิ่น เช่น กากใบชาที่เหลือจากการชงชาแล้ว ผึ่งไว้แห้งบรรจุภาชนะต่างๆ เช่น ถุงผ้า ฯลฯ สามารถดับกลิ่นในตู้เสื้อผ้า ดับกลิ่นในตู้เย็น ดับกลิ่นในตู้ไมโครเวฟ ดับกลิ่นในตู้ที่อับ ชื้น ดับ กลิ่นใน ตู้ที่อับชื้น ดับกลิ่นในรถยนต์ ดับกลิ่นในห้องน้ำ ดับกลิ่นในห้องครัว ฯลฯ
   12. ขยายหลอดลม
   13. ป้องกันมะเร็ง ปอด ผิดหนัง กระเพาะอาหาร ตับ ลำไส้เล็ก
   14. ลดโคเสลเตอรอลในเลือด
   15. ลดน้ำตาลในเลือด
   16. ลดอัตราการแบ่งตัวของไวรัส
   17. หมอนที่มีกากใบชาแทนนุ่นช่วยคลายเครียดทำให้นอนหลับสบาย
        ประโยชน์และคุนค่าของชาอู่หลง
   1. ชาเป็นเครื่องดื่มที่มีกลิ่นหอม ช่วยกระตุ้นให้เกิดความสดชื่นยามบ่าย ชามาสมารถช่วยกระตุ้น      ระบบประสาททำให้ สมองแจ่มใส และร่างการทำงาน ได้อย่าง มีประสิทธิภาพ 
  2. ชาช่วยแก้กระหายและช่วยย่อยอาหาร ในช่วงอากาศร้อน การดื่มชาทำให้รู่สึกสดชื่นขึ้น 
  3. ชามีสารฟลูโอไรต์จากธรรมชาติ ช่วยให้ฟันแข็งแรงมากขึ้น ช่วยลดกลิ่นปาก และการหมักหมม ของเชื้อแบคทีเรียในช่องปาก 
  4. ชามีสรรพคุณเป็นสารต่อต้านแบคทีเรีย และการยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื่อแบคทีเรีย และ ยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อโรคบางชนิดช่วยลดการอักเสบช่วยสมานแผล และต่อต้านโรค บิด โรคอหิวาต์ ปอดบวม ฝี และหนอง 
  5. ชาช่วยชำระสารพิษในร่างกาย 
  6. ชาช่วยในการขับปัสสาวะ และขยายหลอดลม ลดอาการหอบหืด 
  7. ชาช่วยระงับและรักษาอาการท้องเสียได้อย่างดี เนื่องจากชามีสารฝาด ที่ละลายออกจากใบชา แก้ท้องเสียได้ 
  8. ชาช่วยส่งเสริมสุขภาพหัวใจให้แข็งแรง ชามีสรรคุณที่ทำปฏิกริยาลดไขมันและน้ำมัน 
  9. สาร Glycosides ในใบชา ช่วยป้องกันการเพิ่มระดับของน้ำตาลในเลือด นั่นคือ ชาสามรถ ป้องกันโรคเบาหวานได้นั่นเอง 
  10. ชามีสารที่มีฤทธิ์จำกัดปฎิกริยาของเชื้อไวรัส รวมไปถึงไข้หวัดใหญ่ เชื้องูสวัด โปลิโอ หรือ แม้แต่ปฏิกริยาบางส่วนของเชื้อ HIV โดยการแทรก แซงและป้องกันไม่ให้เชื่อ HIV เข้าไปเกาะ ติดกับเซลล์เนื้อเยื่อที่มีสุขภาพดี 
  11. ชาช่วยกระตุ้นการทำงานของระบบภูมิคุ้มกันกระตุ้นการทำงานของร่างกายในการต่อต้านเชื้อ แบคทีเรียแปลกปลอม 
  12.ชาช่วยชะลอความแก่ ดยการกำจัดสภาวะเสียหายที่เกิดจากอนุมูลอิสระให้แก่เซลล์เนื้อเยื่อ 
  13. เป็นยาบำรุงโดยไม่มีผลรบกวนการทำงานของระบบประสาท หรือทำให้นอนไม่หลับ 
  14. ช่วยรักษาสมดุลของของเหลวภายในร่างกาย